1.พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ ประกาศใช้เมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมือใด
- ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2546 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2546
2.ผู้รักษาตามพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้คือใคร
- นายกรัฐมนตรี
- นายกรัฐมนตรี
3.เหตุผลที่ประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้เพราะอะไร
- เหตุผลที่ประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่มีการปฏิรูประบบราชการ เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ และให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
4.พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้มีกี่หมวดกี่มาตรา ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- 9 หมวด 53 มาตรา
- เพื่อ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ดังต่อไปนี้
6.หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ร่วมกันในการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อนำเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
- สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีหน้าที่ร่วมจัดทำแผนบริหาราชการแผ่นดินเสนอต่อรัฐมนตรี
(1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
(3)
มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
(4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
(5)
มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(6)
ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
(7)
มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ
- สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีหน้าที่ร่วมจัดทำแผนบริหาราชการแผ่นดินเสนอต่อรัฐมนตรี
7.หลังจากที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผนต้องดำเนินการจัดทำแผนเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาภายในกำหนดเวลากี่วัน
- เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาหน่วยงานที่จัดทำแผนการบริหาราชการแผ่นดินต้องเสนอแผนให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายใน 90 วัน
8.แผนบริหารราชการแผ่นดินนั้น กำหนดให้จัดทำแผนกี่ปี
8.แผนบริหารราชการแผ่นดินนั้น กำหนดให้จัดทำแผนกี่ปี
- แผนบริหารราชการแผ่นดินนั้น กำหนดให้จัดทำแผน 4 ปี
9.ผู้ที่ทำหน้าที่ประเมินหน่วยงานของรัฐตามพระราชกฤษฎีฉบับนี้คือใคร
9.ผู้ที่ทำหน้าที่ประเมินหน่วยงานของรัฐตามพระราชกฤษฎีฉบับนี้คือใคร
- สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณ
10.การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ ประเมินอะไรบ้าง อธิบาย
10.การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ ประเมินอะไรบ้าง อธิบาย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น